วันพุธที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ข้อสอบเรื่อง IP V6

ข้อสอบเรื่อง IP V6

1. (IPV6) ย่อมาจากอะไร
ก. Internet Protocol Vertion6
ข. Vertion6
ค. Internet Protocol
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ก. Internet Protocol Vertion6

2.โพรโตคอลดังกล่าวทั้งหมดกี่ฉบับ
ก. 1ฉบับ
ข. 2ฉบับ
ค. 3ฉบับ
ง.4ฉบับ
เฉลย ง.4ฉบับ

3.CATNIP ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)

4.TUBA ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)

5. SIPP ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ค.(Simple Internet Protocol Plus)

6.แนวทางในการพัฒนาIPV6 อย่างเป็นทางการไว้ในเอกสาร RFC 1752 โดยมีประเด็นสำคัญดังนี้
ก.นโยบายการแบ่งสรรหมายเลขไอพีแอดเดรส
ข.ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเรียกคืนชุดหมายเลขไอพีรุ่นที่ 4 ที่มีการใช้ประโยชน์ต่ำกว่าเกณฑ์กลับคืนมา
ค.ให้ใช้หลักการแบ่งสรรหมายเลขไอพีคลาส A ที่เหลืออยู่แบบ CIDR
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ

7.โครงการ IP ng Area (คณะทำงานที่ถูกแต่งตั้งโดย Internet Engineering Task Force, IETF ในปีค.ศ.ใด
ก.1991
ข.1992
ค.1993
ง.1994
เฉลย ค.1993

8.คณะทำงาน IP ng ถูกก่อตั้งขึ้นโดยใคร
ก.Steve Deering และ Ross Callon
ข.adda
ค.Ping
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ก.Steve Deering และ Ross Callon

9.คณะทำงาน Address autoconfiguration ถูกก่อตั้งและนำทีมโดยใครบ้าง
ก. Ross Callon
ข. Steve Deering
ค. Dave Katz ร่วมกับ Sue Thomson
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ค. Dave Katz ร่วมกับ Sue Thomson

10.โครงการ IPng Area จะสิ้นสุดลงเมื่อปลายพ.ศ.ใด
ก.ปลายปี 1994
ข.ปลายปี 1997
ค.ปลายปี 1995
ง.ปลายปี 1990
เฉลย ค.ปลายปี 1995

11.คุณลักษณะเฉพาะของ IPng APIs คืออะไรบ้าง
ก.ต้องสนับสนุน Authentication header และ algorithm อย่างเฉพาะเจาะจง
ข.ต้องสนับสนุน Privacy header และ algorithm อย่างเฉพาะเจาะจง
ค.ต้องมีการพัฒนาโครงร่างของระบบ Firewall สำหรับ IPng
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ


12.และในช่วงกลางปี 1994 เช่นกัน IPng ได้รับการกำหนดหมายเลขรุ่นโดยหน่วยงานใด
ก.ไม่มีข้อถูก
ข.Internet Assigned Numbers Authority(IANA)
ค.อเมริกา
ง.หน่วยงานจากญี่ปุ่น
เฉลย ข.Internet Assigned Numbers Authority(IANA)

13.จากข้อ12.ได้รับเป็นรุ่นที่เท่าไหร่
ก.ให้เป็นรุ่นที่ 6 อันเป็นที่มาของ IPv6
ข.ให้เป็นรุ่นที่ 4 อันเป็นที่มาของ IPv4
ค.ให้เป็นรุ่นที่ 5 อันเป็นที่มาของ IPv5
ง.ให้เป็นรุ่นที่ 7 อันเป็นที่มาของ IPv7
เฉลย ก.ให้เป็นรุ่นที่ 6 อันเป็นที่มาของ IPv6

14. เอกสาร RFC1752 ชุดนี้ได้ถูกยอมรับและดำเนินการต่อโดยคณะทำงานภายใต้ IETF ที่ชื่อว่า อะไร
ก. Internet
ข. Engineering
ค.Internet Engineering Steering Group (IESG)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ค.Internet Engineering Steering Group (IESG)

15. IP Address มีอยู่กี่ลักษณะ
ก.สองลักษณะด้วยกัน
ข.สามลักษณะ
ค.สี่ลักษณะ
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ก.สองลักษณะด้วยกัน

16. IP Address มีลักษณะบ้าง
ก. Static IP
ข. IP Address
ค. Dynamic IP
ง. Static IPและ Dynamic IP
เฉลย ง. Static IPและ Dynamic IP

17. หน่วยงานที่ทำหน้าที่จัดสรร IP Address เหล่านี้คือ
ก.หน่ายงานจากต่างประเทศ
ข.หน่วยงานภายในประเทศไทย
ค.องค์การระหว่างประเทศที่ชื่อว่า Network Information Center - NIC
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ค.องค์การระหว่างประเทศที่ชื่อว่า Network Information Center - NIC

18. IPv6 ประกอบด้วยเลขฐานสองจำนวนกี่บิต
ก.128 บิต
ข.84 บิต
ค.32 บิต
ง. 16 บิต
เฉลย ก.128 บิต

19.จุดเด่นของ IPv6 ที่พัฒนาเพิ่มขึ้นมากจาก IPv4 คืออะไร
ก.ขยายขนาด Address ขึ้นเป็น 128 บิต สามารถรองรับการใช้งาน IP Address ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วได้
ข.เพิ่มขีดความสามารถในการเลือกเส้นทางและสนับสนุน Mobile Host
ค.สนับสนุนการทำงานแบบเวลาจริง (real-time service)
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ

20.เฮดเดอร์ของ IPV 6 เทียบกับของ IPV 4 จะสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างอะไรบ้าง
ก.ตำแหน่งที่ตัดออก
ข.ตำแหน่งที่ปรับเปลี่ยน
ค.ตำแหน่งที่เพิ่ม
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ

21 Internet Protocol Vertion6 (Ipv6) มีขนาดเท่าใด
ก. มีขนาด 126 bit
ข. มีขนาด 128 bit
ค. มีขนาด 129 bit
ง. มีขนาด 127 bit
เฉลย ข. มีขนาด 128 bit

22.ข้อเสียของ Ipv6 คืออะไร
ก.การใช้ IPv6 แทน IPv4 เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและทำได้ยาก ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปและถูกวิธี
ข.ประเทศไทยยังมีการติดตั้งเครือข่าย IPv6 ไม่มากนัก จะเกิดขึ้นกับคนบางกลุ่มหรือกับผู้ให้บริการรายใหญ่ๆเท่านั้น
ค.ในประเทศไทยประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้ จึงไม่ตื่นตัวหรือสนใจที่จะใช้ IPv6 ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในอนาคต
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ

23.ข้อดีของ Ipv6 ข้อใดผิด
ก.การใช้ IPv6 แทน IPv4 เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและทำได้ยาก ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อย
ไปและถูกวิธี
ข.มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้
ค.มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี
ง.มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่ ( Mobile IP )
เฉลย ก.การใช้ IPv6 แทน IPv4 เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและทำได้ยาก ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปและถูกวิธี

24. ลักษณะทั่วไปของ IPv6 ข้อใดถูก
ก.มีความสามารถมากขึ้นในการ Routing, Security, Quality of Services (QoS) ภายใน IP Header
ข.สนับสนุน Real Time Services
ค.สนับสนุนการ Assign หมายเลข IP Address โดยอัตโนมัติ ในขณะที่ IPv4 ต้องพึ่งโปรโตคอลอื่นๆ เช่น DHCP เป็นต้น
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ

25.ข้อใดไม่ถูกต้องของตำแหน่งที่เพิ่มขึ้นมาของ IPv6 เมื่อเทียบกับ IPv4
ก. Type of Service ของ IPv4 ถูกแทนที่ด้วย Traffic Class ซึ่งใช้ระบุว่า packet นี้อยู่ใน class ไหนและมีระดับความสำคัญเท่าไหร่ เพื่อที่ router จะได้จัด QoS DiffServ ในการส่ง packet ให้เหมาะสม
ข. Flow label ใช้ระบุ end-to-end traffic flow ระหว่างต้นทางกับปลายทาง ใน application หนึ่งๆสามารถสร้าง flow ได้หลายๆ อัน อย่างเช่น video conference เราสามารถแยก flow ของภาพและเสียงออกจากกันได้ แม้ว่าจะเปิด socket ในการทำงานเพียง socket เดียว
ค. Header Checksum ถูกตัดออกเพราะว่ามันซ้ำซ้อนกับ function ของ protocol บน layer ที่อยู่สูงกว่า IP อีกทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการประมวลผล packet ด้วย เพราะ checksum ต้องคำนวณใหม่ที่ router เสมอ หากตัดออกก็จะลดภาระงานที่ router ได้
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ค. Header Checksum ถูกตัดออกเพราะว่ามันซ้ำซ้อนกับ function ของ protocol บน layer ที่อยู่สูงกว่า IP อีกทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการประมวลผล packet ด้วย เพราะ checksum ต้องคำนวณใหม่ที่ router เสมอ หากตัดออกก็จะลดภาระงานที่ router ได้

26. IPv6 address ถูกแบ่งออกเป็นกี่กลุ่มใหญ่ๆ
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
เฉลย ค. 3

27.จากข้อที่ 26 มีอะไรบ้าง
ก.Unicast
ข. Multicast
ค. Anycast
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ



28. IPv6 นั้นมี รูปแบบของ IP Address อยู่ทั้งหมดกี่ประเภทหลักๆ
ก.2
ข.4
ค.6
ง.8
เฉลย ค.6

29. IPv6 "Internet Protocol Version 6" ซึ่งจะเป็น Internet protocol ออกแบบและคิดค้นโดย
ก.Microsoft
ข.IETF
ค. CATNIP
ง. SIPP
เฉลย ข.IETF

30. Dual stacks หมายถึง
ก.การใช้งาน IPv4 และ IPv6 stack ควบคู่กันไปภายในอุปกรณ์ตัวเดียวกัน
ข.การปรับเปลี่ยนเครือข่ายจาก IPv4 สู่ IPv6
ค.สำหรับการให้บริการเชื่อมต่อ กันระหว่างเครื่องที่ใช้และติดตั้งหมายเลข IPv6 เพียงอย่างเดียว
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ก.การใช้งาน IPv4 และ IPv6 stack ควบคู่กันไปภายในอุปกรณ์ตัวเดียวกัน

ข้อสอบเรื่อง IP V6

ข้อสอบเรื่อง IP V6

1. (IPV6) ย่อมาจากอะไร
ก. Internet Protocol Vertion6
ข. Vertion6
ค. Internet Protocol
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ก. Internet Protocol Vertion6

2.โพรโตคอลดังกล่าวทั้งหมดกี่ฉบับ
ก. 1ฉบับ
ข. 2ฉบับ
ค. 3ฉบับ
ง.4ฉบับ
เฉลย ง.4ฉบับ

3.CATNIP ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)

4.TUBA ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)

5. SIPP ย่อมาจากอะไร
ก.(Common Architecture for Next Generation Internet Protocol)
ข.(TCP and UDP with Bigger Addresses)
ค.(Simple Internet Protocol Plus)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ค.(Simple Internet Protocol Plus)

6.แนวทางในการพัฒนาIPV6 อย่างเป็นทางการไว้ในเอกสาร RFC 1752 โดยมีประเด็นสำคัญดังนี้
ก.นโยบายการแบ่งสรรหมายเลขไอพีแอดเดรส
ข.ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเรียกคืนชุดหมายเลขไอพีรุ่นที่ 4 ที่มีการใช้ประโยชน์ต่ำกว่าเกณฑ์กลับคืนมา
ค.ให้ใช้หลักการแบ่งสรรหมายเลขไอพีคลาส A ที่เหลืออยู่แบบ CIDR
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ

7.โครงการ IP ng Area (คณะทำงานที่ถูกแต่งตั้งโดย Internet Engineering Task Force, IETF ในปีค.ศ.ใด
ก.1991
ข.1992
ค.1993
ง.1994
เฉลย ค.1993

8.คณะทำงาน IP ng ถูกก่อตั้งขึ้นโดยใคร
ก.Steve Deering และ Ross Callon
ข.adda
ค.Ping
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ก.Steve Deering และ Ross Callon

9.คณะทำงาน Address autoconfiguration ถูกก่อตั้งและนำทีมโดยใครบ้าง
ก. Ross Callon
ข. Steve Deering
ค. Dave Katz ร่วมกับ Sue Thomson
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ค. Dave Katz ร่วมกับ Sue Thomson

10.โครงการ IPng Area จะสิ้นสุดลงเมื่อปลายพ.ศ.ใด
ก.ปลายปี 1994
ข.ปลายปี 1997
ค.ปลายปี 1995
ง.ปลายปี 1990
เฉลย ค.ปลายปี 1995

11.คุณลักษณะเฉพาะของ IPng APIs คืออะไรบ้าง
ก.ต้องสนับสนุน Authentication header และ algorithm อย่างเฉพาะเจาะจง
ข.ต้องสนับสนุน Privacy header และ algorithm อย่างเฉพาะเจาะจง
ค.ต้องมีการพัฒนาโครงร่างของระบบ Firewall สำหรับ IPng
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ


12.และในช่วงกลางปี 1994 เช่นกัน IPng ได้รับการกำหนดหมายเลขรุ่นโดยหน่วยงานใด
ก.ไม่มีข้อถูก
ข.Internet Assigned Numbers Authority(IANA)
ค.อเมริกา
ง.หน่วยงานจากญี่ปุ่น
เฉลย ข.Internet Assigned Numbers Authority(IANA)

13.จากข้อ12.ได้รับเป็นรุ่นที่เท่าไหร่
ก.ให้เป็นรุ่นที่ 6 อันเป็นที่มาของ IPv6
ข.ให้เป็นรุ่นที่ 4 อันเป็นที่มาของ IPv4
ค.ให้เป็นรุ่นที่ 5 อันเป็นที่มาของ IPv5
ง.ให้เป็นรุ่นที่ 7 อันเป็นที่มาของ IPv7
เฉลย ก.ให้เป็นรุ่นที่ 6 อันเป็นที่มาของ IPv6

14. เอกสาร RFC1752 ชุดนี้ได้ถูกยอมรับและดำเนินการต่อโดยคณะทำงานภายใต้ IETF ที่ชื่อว่า อะไร
ก. Internet
ข. Engineering
ค.Internet Engineering Steering Group (IESG)
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ค.Internet Engineering Steering Group (IESG)

15. IP Address มีอยู่กี่ลักษณะ
ก.สองลักษณะด้วยกัน
ข.สามลักษณะ
ค.สี่ลักษณะ
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ก.สองลักษณะด้วยกัน

16. IP Address มีลักษณะบ้าง
ก. Static IP
ข. IP Address
ค. Dynamic IP
ง. Static IPและ Dynamic IP
เฉลย ง. Static IPและ Dynamic IP

17. หน่วยงานที่ทำหน้าที่จัดสรร IP Address เหล่านี้คือ
ก.หน่ายงานจากต่างประเทศ
ข.หน่วยงานภายในประเทศไทย
ค.องค์การระหว่างประเทศที่ชื่อว่า Network Information Center - NIC
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ค.องค์การระหว่างประเทศที่ชื่อว่า Network Information Center - NIC

18. IPv6 ประกอบด้วยเลขฐานสองจำนวนกี่บิต
ก.128 บิต
ข.84 บิต
ค.32 บิต
ง. 16 บิต
เฉลย ก.128 บิต

19.จุดเด่นของ IPv6 ที่พัฒนาเพิ่มขึ้นมากจาก IPv4 คืออะไร
ก.ขยายขนาด Address ขึ้นเป็น 128 บิต สามารถรองรับการใช้งาน IP Address ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วได้
ข.เพิ่มขีดความสามารถในการเลือกเส้นทางและสนับสนุน Mobile Host
ค.สนับสนุนการทำงานแบบเวลาจริง (real-time service)
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ

20.เฮดเดอร์ของ IPV 6 เทียบกับของ IPV 4 จะสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างอะไรบ้าง
ก.ตำแหน่งที่ตัดออก
ข.ตำแหน่งที่ปรับเปลี่ยน
ค.ตำแหน่งที่เพิ่ม
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ

21 Internet Protocol Vertion6 (Ipv6) มีขนาดเท่าใด
ก. มีขนาด 126 bit
ข. มีขนาด 128 bit
ค. มีขนาด 129 bit
ง. มีขนาด 127 bit
เฉลย ข. มีขนาด 128 bit

22.ข้อเสียของ Ipv6 คืออะไร
ก.การใช้ IPv6 แทน IPv4 เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและทำได้ยาก ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปและถูกวิธี
ข.ประเทศไทยยังมีการติดตั้งเครือข่าย IPv6 ไม่มากนัก จะเกิดขึ้นกับคนบางกลุ่มหรือกับผู้ให้บริการรายใหญ่ๆเท่านั้น
ค.ในประเทศไทยประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้ จึงไม่ตื่นตัวหรือสนใจที่จะใช้ IPv6 ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในอนาคต
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ

23.ข้อดีของ Ipv6 ข้อใดผิด
ก.การใช้ IPv6 แทน IPv4 เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและทำได้ยาก ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อย
ไปและถูกวิธี
ข.มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้
ค.มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี
ง.มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่ ( Mobile IP )
เฉลย ก.การใช้ IPv6 แทน IPv4 เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและทำได้ยาก ต้องมีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปและถูกวิธี

24. ลักษณะทั่วไปของ IPv6 ข้อใดถูก
ก.มีความสามารถมากขึ้นในการ Routing, Security, Quality of Services (QoS) ภายใน IP Header
ข.สนับสนุน Real Time Services
ค.สนับสนุนการ Assign หมายเลข IP Address โดยอัตโนมัติ ในขณะที่ IPv4 ต้องพึ่งโปรโตคอลอื่นๆ เช่น DHCP เป็นต้น
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ

25.ข้อใดไม่ถูกต้องของตำแหน่งที่เพิ่มขึ้นมาของ IPv6 เมื่อเทียบกับ IPv4
ก. Type of Service ของ IPv4 ถูกแทนที่ด้วย Traffic Class ซึ่งใช้ระบุว่า packet นี้อยู่ใน class ไหนและมีระดับความสำคัญเท่าไหร่ เพื่อที่ router จะได้จัด QoS DiffServ ในการส่ง packet ให้เหมาะสม
ข. Flow label ใช้ระบุ end-to-end traffic flow ระหว่างต้นทางกับปลายทาง ใน application หนึ่งๆสามารถสร้าง flow ได้หลายๆ อัน อย่างเช่น video conference เราสามารถแยก flow ของภาพและเสียงออกจากกันได้ แม้ว่าจะเปิด socket ในการทำงานเพียง socket เดียว
ค. Header Checksum ถูกตัดออกเพราะว่ามันซ้ำซ้อนกับ function ของ protocol บน layer ที่อยู่สูงกว่า IP อีกทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการประมวลผล packet ด้วย เพราะ checksum ต้องคำนวณใหม่ที่ router เสมอ หากตัดออกก็จะลดภาระงานที่ router ได้
ง.ไม่มีข้อถูก
เฉลย ค. Header Checksum ถูกตัดออกเพราะว่ามันซ้ำซ้อนกับ function ของ protocol บน layer ที่อยู่สูงกว่า IP อีกทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการประมวลผล packet ด้วย เพราะ checksum ต้องคำนวณใหม่ที่ router เสมอ หากตัดออกก็จะลดภาระงานที่ router ได้

26. IPv6 address ถูกแบ่งออกเป็นกี่กลุ่มใหญ่ๆ
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
เฉลย ค. 3

27.จากข้อที่ 26 มีอะไรบ้าง
ก.Unicast
ข. Multicast
ค. Anycast
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ง.ถูกทุกข้อ



28. IPv6 นั้นมี รูปแบบของ IP Address อยู่ทั้งหมดกี่ประเภทหลักๆ
ก.2
ข.4
ค.6
ง.8
เฉลย ค.6

29. IPv6 "Internet Protocol Version 6" ซึ่งจะเป็น Internet protocol ออกแบบและคิดค้นโดย
ก.Microsoft
ข.IETF
ค. CATNIP
ง. SIPP
เฉลย ข.IETF

30. Dual stacks หมายถึง
ก.การใช้งาน IPv4 และ IPv6 stack ควบคู่กันไปภายในอุปกรณ์ตัวเดียวกัน
ข.การปรับเปลี่ยนเครือข่ายจาก IPv4 สู่ IPv6
ค.สำหรับการให้บริการเชื่อมต่อ กันระหว่างเครื่องที่ใช้และติดตั้งหมายเลข IPv6 เพียงอย่างเดียว
ง.ถูกทุกข้อ
เฉลย ก.การใช้งาน IPv4 และ IPv6 stack ควบคู่กันไปภายในอุปกรณ์ตัวเดียวกัน

IP Header ของ IPv6

IP Header ของ IPv6

IPv6 Packet Format

- สิ่งที่ควรจะรู้เกี่ยวกับ IPv6 เป็นอย่างแรกก็คือ packet format ของ IPv6 ครับ.. เพราะ packet format ก็คือ data structure ที่บอกว่า IPv6 สามารถทำอะไรได้บ้าง.. IPv6 packet ประกอบด้วย header, extended header, แล้วก็ payload ครับ .. Header ของ IPv6 ออกแบบมาให้มีขนาดคงที่และมีรูปแบบที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดย header จะประกอบด้วย field จำเป็นต้องใช้ในการ process packet ที่ทุกๆ router เท่านั้น พวก options ต่างๆ ที่อาจจะ process เฉพาะที่ต้น/ปลายทาง หรือ ที่ router บางตัวจะแยกออกมาไว้ที่ extended header แทน .. รายละเอียดของ extended header เดี๋ยวว่ากันในหัวข้อ extended header ละกันนะครับ.. ตอนนี้เรามาดูที่ header ของ IPv6 กันก่อน..
- จากรูปของ packet format จะเห็นว่า header ของ IPv6 ดู simple มากเมื่อเทียบกับ header ของ IPv4 เหตุผลก็เป็นไปตามนี้:
> Version ยังคงต้องมีเหมือนเดิม เพื่อใช้บอกว่า packet นี้เป็น IP version ไหน.. กรณีของ IPv6 ค่าของ version ก็จะเป็น 6
> Header length ถูกตัดออกไป เพราะขนาดของมันจะเป็น 40 octets เสมอ การกำหนดให้เป็น fixed length header ทำให้ประสิทธิภาพโดยรวมของการประมวลผล packet ดีขึ้น
> Type of Service ของ IPv4 ถูกแทนที่ด้วย Traffic Class ซึ่งใช้ระบุว่า packet นี้อยู่ใน class ไหนและมีระดับความสำคัญเท่าไหร่ เพื่อที่ router จะได้จัด schedule ในการส่ง packet ให้เหมาะสม
> Flow label ใช้ระบุ end-to-end traffic flow ระหว่างต้นทางกับปลายทาง ใน application นึงสามารถสร้าง flow ได้หลายๆ อัน อย่างเช่น video conference เราสามารถแยก flow ของภาพและเสียงออกจากกันได้ แม้ว่าจะเปิด socket ในการทำงานเพียง socket เดียว
> Total Length แทนที่ด้วย Payload length เพื่อระบุขนาดของ payload ในหน่วย octet (byte) ดังนั้นขนาดของ payload สูงสุดจะเป็น 65535 octets
> Identification, Flag, Segmentation, Protocol, Options, และ Padding ถูกย้ายไปอยู่ในส่วนของ extended header เพราะถือว่าเป็นส่วนที่ไม่จำเป็นต้อง process ในทุก router
> Hop Limit ถูกใช้แทน Time-To-Live ของ IPv4 ... ตาม IPv4 specification TTL จะเก็บเป็นเวลาจริงๆ หน่วยเป็นวินาที โดยระบุว่าแต่ละ router ต้องลด TTL ลงอย่างน้อย 1 วินาที แม้ว่าจะใช้เวลาประมวลผล packet น้อยกว่านั้น.. ในความเป็นจริงการประมวลผล packet เร็วมากครับ เพียงแค่ไม่กี่ usec เท่านั้น.. router ใหม่ๆ อาจจะทำได้น้อยกว่า 1 usec เสียอีก..router จึงลด TTL ครั้งละ 1 เสมอ .. TTL ก็เลยกลายเป็น hop count แทนที่จะเป็นเวลาจริงๆ ซึ่งก็เหมาะสมและง่ายต่อการประมวลผล... ใน IPv6 จึงเปลี่ยนมาใช้คำว่า Hop limit เพื่อให้ตรงกับความหมายจริงๆ ของมัน
> Next Header ซึ่งใช้เป็นตัวบอกว่า extended header ตัวถัดไปเป็น header ประเภทไหน
> Header Checksum ถูกตัดออกเพราะว่ามันซ้ำซ้อนกับ function ของ protocol บน layer ที่อยู่สูงกว่า IP อีกทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการประมวลผล packet ด้วย เพราะ checksum ต้องคำนวณใหม่ที่ router เสมอ หากตัดออกก็จะลดภาระงานที่ router ได้ ..
Extended Headers
- มาถึง extended header กันบ้าง .. จากเหตุผลข้างบนที่ย้ายหลายๆ field มาเป็น extended header ทำให้ IPv6 มี extended header หลายๆ แบบเลยครับ แต่ละแบบก็เอาไว้ใช้ทำงานเฉพาะอย่างเพียงงานเดียว ..ใน 1 packet เราสามารถใช้ extended header ได้มากกว่า 1 อัน ดังนั้น เราจึงขอ service จาก IPv6 ได้มากกว่า 1 อย่าง .. IPv6 specification ล่าสุดกำหนดให้มี extended header อยู่ 6 แบบ ทุกแบบจะขึ้นต้นด้วย field "Next Header" เสมอ เพื่อระบุว่า extended header อันถัดเป็นชนิดไหน..

> Hop-by-Hop Options: เป็น option ที่ระบุให้ทุก router ที่อยู่ในเส้นทางระหว่างต้น/ปลายทางจะต้องทำตาม ตอนนี้ใน IPv6 specification มี option อยู่เพียงสองอัน คือ Jumbogram options สำหรับให้ IPv6 packet มีขนาดใหญ่กว่า 65535 octets ได้ ขนาดของ jumbogram สูงสุดคือ 2^32 octets (4,294,967,295 octets) เชียวล่ะครับ..อีก option นึงเอาไว้ทำ padding
> Routing: ใช้สำหรับทำ source routing ครับ.. คือต้นทางสามารถระบุเส้นทางที่ packet ต้องผ่านได้ โดย list เป็น router ที่ต้องส่ง packet ผ่านไปจนถึงปลายทาง.. Source routing ของ IPv6 สามารถระบุแต่ละ router ใน list ได้เลยว่าเป็น strict source routing หรือ loose source routing (หมายความว่าเราระบุ ทั้ง strict และ loose source routing ผสมกันได้) ซึ่งยืดหยุ่นมากกว่า source routing ของ IPv4 ที่จะบังคับว่า router ใน list ต้องเป็น strict หรือไม่ก็เป็น loose source routing ทั้งหมด
> Fragment: ใช้สำหรับทำ fragmentation เหมือนของ IPv4 แต่ที่ต่างกันก็คือ IPv6 จะมี function สำหรับหา path MTU ไว้อยู่แล้วเพื่อจะได้รู้ว่าขนาด Maximum Transfer Unit ที่เหมาะสมของ path นั้นๆ มีค่าเป็นเท่าไหร่ ดังนั้นการทำ fragmentation จึงทำที่ source node เท่านั้น (IPv4 จะทำ fragmentation ทั้งที่ source node และ router)> Destination Options: ใช้งานคล้ายๆ กับ Hop-by-Hop option ครับ แต่จะเป็น option สำหรับปลายทางเท่านั้น.. ตอนนี้มีเพียง option เดียว คือเอาไว้ทำ padding
> Authentication: อันนี้ชื่อก็บอกอยู่แล้ว..ใช้สำหรับทำ authentication รายละเอียดจะอยู่ในเรื่อง IP Security (IPSEC) เอาไว้ว่างๆ จะเขียนมาให้อ่านครับ ถ้าเอามารวมกับ IPv6 เดี๋ยวจะยาวเกินไป
> Encapsulated Security Payload: ใช้สำหรับทำ encryption และ cryptography อื่นๆ รายละเอียดก็จะอยู่ใน IP Security เหมือนกัน..

- Extended header มีอย่างมากไม่เกินแบบละ 1 อัน ยกเว้น destination option header ซึ่งอาจจะมีได้ 2 อัน..อืมม..ทีนี้พอมี extended header หลายๆ แบบอย่างนี้ก็ต้องมีลำดับการเรียง extended header ให้ถูกต้องด้วย...ถ้าใส่กันเต็มๆ ก็จะเรียงลำดับตามนี้:
1. IPv6 header
2. Hop-by-Hop Options header
3. Destination Options header
4. Routing header
5. Fragment header
6. Authentication header
7. Encapsulating Security Payload header8. Destination Options header9. Upper-layer header (e.g., TCP, UDP)


- IPv6 header ได้ถูกออกแบบให้มีขนาด Header ลดน้อยลง โดยทำการย้ายฟิลด์ที่ไม่จำเป็น หรือที่เพิ่มออก โดยวางไว้หลัง IPv6 header และใช้การแจ้งเป็น Streamline header ซึ่งมีประสิทธิภาพในการดำเนินการติดต่อกับ Router ทันทีทันใด

- IPv4 header กับ IPv6 header ไม่สามารถใช้ง่ายร่วมกันได้ ซึ่งในการวางระบบทั้ง Ipv4 และ IPv6 ต้องทำทั้งคู่เพื่อให้รู้จักรูปแบบของ Header ซึ่ง Header ของ IPv6 ใหญ่กว่าของ IPv4 สองเท่า และตำแหน่งที่อยู่ใหญ่กว่าถึง 4 เท่า

- เฮดเดอร์ของ IP โดยปกติจะมีขนาด 20 bytes ยกเว้นในกรณีที่มีการเพิ่ม option บางอย่าง ฟิลด์ของเฮดเดอร์ IP จะมีความหมายดังนี้

Version : หมายเลขเวอร์ชันของโปรโตคอล ที่ใช้งานในปัจจุบันคือ เวอร์ชัน 4 (IPv4) และเวอร์ชัน 6 (IPv6)
Header Length : ความยาวของเฮดเดอร์ โดยทั่วไปถ้าไม่มีส่วน option จะมีค่าเป็น 5 (5*32 bit)
Type of Service (TOS) : ใช้เป็นข้อมูลสำหรับเราเตอร์ในการตัดสินใจเลือกการเราต์ข้อมูลในแต่ละดาต้า แกรม แต่ในปัจจุบันไม่ได้มีการนำไปใช้งานแล้ว
Length : ความยาวทั้งหมดเป็นจำนวนไบต์ของดาต้าแกรม ซึ่งด้วยขนาด 16 บิตของฟิลด์ จะหมายถึงความยาวสูงสุดของดาต้าแกรม คือ 65535 byte (64k) แต่ในการส่งข้อมูลจริง ข้อมูลจะถูกแยกเป็นส่วนๆตามขนาดของ MTU ที่กำหนดในลิงค์เลเยอร์ และนำมารวมกันอีกครั้งเมื่อส่งถึงปลายทาง แอพพลิเคชั่นส่วนใหญ่จะมีขนาดของดาต้าแกรมไม่เกิน 512 byte
Identification : เป็นหมายเลขของดาต้าแกรมในกรณีที่มีการแยกดาต้าแกรมเมื่อข้อมูลส่งถึง ปลายทางจะนำข้อมูลที่มี identification เดียวกันมารวมกัน
Flag : ใช้ในกรณีที่มีการแยกดาต้าแกรม
Fragment offset : ใช้ในการกำหนดตำแหน่งข้อมูลในดาต้าแกรมที่มีการแยกส่วน เพื่อให้สามารถนำกลับมาเรียงต่อกันได้อย่างถูกต้อง
Time to live (TTL) : กำหนดจำนวนครั้งที่มากที่สุดที่ดาต้าแกรมจะถูกส่งระหว่าง hop (การส่งผ่านข้อมูลระหว่างเน็ตเวิร์ค) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการส่งข้อมูลโดยไม่สิ้นสุด โดยเมื่อข้อมูลถูกส่งไป 1 hop จะทำการลดค่า TTL ลง 1 เมื่อค่าของ TTL เป็น 0 และข้อมูลยังไม่ถึงปลายทาง ข้อมูลนั้นจะถูกยกเลิก และเราเตอร์สุดท้ายจะส่งข้อมูล ICMP แจ้งกลับมายังต้นทางว่าเกิด time out ในระหว่างการส่งข้อมูล
Protocol : ระบุโปรโตคอลที่ส่งในดาต้าแกรม เช่น TCP ,UDP หรือ ICMP
Header checksum : ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในเฮดเดอร์
Source IP address : หมายเลข IP ของผู้ส่งข้อมูล
Destination IP address : หมายเลข IP ของผู้รับข้อมูล
Data : ข้อมูลจากโปรโตคอลระดับบน

การใช้งานระหว่าง IPv4 และ IPv6

- การปรับเปลี่ยนเครือข่ายจาก IPv4 ไปสู่ IPv6 สามารถทำได้ 3 แนวทางคือ การทำ Dual Stacks , การใช้ Tunneling และการทำ Header Translation

1. การใช้สแต็กคู่ ( Dual Stacks ) คือ การทำให้โฮสต์สามารถใช้งานได้กับ IP address ทั้ง 2 version โดยจะพิจารณาว่าจะส่งข้อมูลไปโดยใช้ IP address version ไหนจากการส่ง packet ไปสอบถาม DNS ก่อนแล้ว จึงส่งข้อมูลตาม version ที่ DNS ตอบกลับมา ถ้า DNS ส่ง packet กลับมาเป็น IPv6 แสดงว่าโฮสต์ต้นทางจะต้องส่ง Packet เป็น IPv6 ข้อมูลจะสามารถส่งถึงโฮสต์ปลายทางได้

2.การใช้อุโมงค์เครือข่าย ( Tunneling) คือ วิธีการที่โฮสต์ต้นทางและโฮสต์ปลายทางใช้ IPv6 ทั้งคู่ แต่การสื่อสารระหว่าง 2 โฮสต์นี้ต้องกระทำผ่าน เครือข่าย IPv4 ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการ encapsulate IPv6 ให้เป็น IPv4 จึงจะสามารถส่งผ่านข้อมูลผ่านเครือข่าย IPv4 ได้ หลังจากนั้นโฮสต์ปลายทางจึงจะทำการดีแคปซูเลต IPv4 ให้เป็น IPv6 ตามเดิม

3. การแปลงเฮดเดอร์ (Header Translation) คือ วิธีการนี้ใช้เมื่ออินเตอร์เน็ตได้เปลี่ยนเป็น IPv6 แล้วแต่ยังมีบางเครือข่ายที่ยังเป็น IPv4 อยู่จึงจำเป็นที่จะต้องทำการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ Header ทั้งหมด โดยใช้ตัวแปลงเฮดเดอร์ ซึ่งแปลงเฮดเดอร์ IPv6 ให้เป็น IPv4


• เทคนิคการทำ Translation เป็นวิธีที่ใช้กับการสื่อสารข้ามเครือข่าย เช่น โหนดจากเครือข่าย IPv4 ต้องการคุยกับเซิร์ฟเวอร์ ในเครือข่าย IPv6 หรือ โหนดที่เป็น IPv6 ต้องการคุยกับเซิร์ฟเวอร์ ที่เป็น IPv4

• หรือการทำ Translation คือการเปลี่ยนแปลงข้อมูลไปมาระหว่างข้อมูลในรูปแบบของ IPv4 และ IPv6• เป็นกรณีที่ต่างไปจากการใช้งาน Dual stacks และ Tunnel

• การแปลงข้อมูลนี้สามารถทำได้หลายระดับ เช่น Network layer, Transport layer, หรือ Application layer

• ไม่ว่าจะทำการแปลงข้อมูลที่ระดับไหน องค์ประกอบสำคัญที่จำเป็นคือส่วนที่ทำหน้าที่แปลงหมายเลข IP address หรือ Address translation ซึ่งการแปลงหมายเลขสามารถทำได้โดยการจัดเก็บคู่หมายเลข IPv4 และ IPv6 address ทุกคู่ในเครือข่าย เราเรียกวิธีนี้ว่า Stateful address translation หรือจะทำการแปลงแบบอัตโนมัติ ที่เรียกว่า Stateless address translator ก็ได้
จุดเด่นของ IPv6 ที่เหนือกว่า IPv4

1. รูปแบบ Header ใหม่ IPv6 header ได้ถูกออกแบบให้มีขนาด Header ลดน้อยลง โดยทำการย้ายฟิลด์ที่ไม่จำเป็น หรือที่เพิ่มออก โดยวางไว้หลัง IPv6 Header และใช้การแจ้ง เป็น Streamline Header ซึ่งมีประสิทธิภาพในการดำเนินการติดต่อกับ Router ทันทีทันใด IPv4 Header กับ IPv6 Header ไม่สามารถใช้ง่ายร่วมกันได้ ซึ่งในการวางระบบทั้ง IPv4 และ IPv6 ต้องทำทั้งคู่เพื่อให้รู้จักรูปแบบของ Header ซึ่ง Header ของ IPv6 ใหญ่กว่าของ IPv4 สองเท่า และตำแหน่งที่อยู่ใหญ่กว่าถึง 4 เท่า

2. มีขนาด Address มากขึ้น IPv6 มีการกำหนดตำแหน่งที่อยู่ผู้ติดต่อ และผู้รับการ ติดต่อเป็น 128 บิต ซึ่งมีจำนวนที่อยู่ถึง 3.4x1038 ทำให้มีการออกแบบเป็นหลายลำดับชั้น และ จองที่อยู่สำหรับ Internet Backbone เพื่อแยกจากเครือข่ายในองค์กรซึ่งเพียงไม่กี่เปอร์เซ็นต์ที่ ใช้สำหรับตำแหน่งโฮสต์ และมีที่อยู่จำนวนมาที่ใช้ในอนาคต ทำให้อ้างจะไม่จำเป็นที่ต้องใช้ NATs ในเครือข่ายอนาคตก็ได้

3. มีการกำหนดที่อยู่เป็นลำดับชั้น และกำหนดโครงสร้างการหาเส้นทางได้IPv6 Global Addresses ใช้บน IPv6 สามารถที่สร้างและกำหนดลำดับชั้นได้อย่างมีประสิทธิสำหรับการหา เส้นทาง และสิ่งที่เกิดขึ้นหลายลำดับในผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต บน IPv6 Internet, Backbone Routers ทำให้ขนาดข้อมูลใน Routing Table เล็กลง

4. ไม่จำเป็นที่ต้องแจ้งที่อยู่ก่อน หรือกำหนดที่อยู่ไว้ก่อนได้เป็นการกำหนดค่าโฮสต์ ซึ่ง IPv6 รองรับทั้งกำหนดค่าที่แจ้งไว้ก่อน เช่นการใช้ DHCP Server และการกำหนดค่าที่อยู่โดย ไม่แจ้งไว้ก่อนได้ (Stateless) ในกรณีที่ไม่มี DHCP Server อยู่ เครื่องโฮสต์บนลิงค์นี้จะ กำหนดค่าอัตโนมัติในตัวเองด้วย IPv6 addresses สำหรับลิงค์ (Link-Local Addresses) และ การกำหนดค่าที่อยู่โดยนำมาจากค่าประกาศด้านหน้าของ Routers แม้ว่าไม่มี Router โฮสต์ก็ สามารถที่ลิงค์ได้โดยกำหนดค่าที่อยู่ในลิงค์ท้องถิ่นเอง ด้วย Link-Local Addresses และการ สื่อสารโดยไม่ต้องกำหนดค่าที่อยู่ด้วยมือ

5. ฝังความปลอดภัยไว้ภายในรองรับ IPSec บนลำดับชั้นของ IPv6 ซึ่งรองรับเป็นทาง แก้ปัญหามาตรฐาน ซึ่งทำให้การสื่อสารระหว่างเครื่องมีความปลอดภัย6. รองรับบริการ Quality of Service (QoS) มีฟิลด์ใหม่ใน IPv6 Header ที่กำหนด สำหรับรองรับการระบุ ซึ่งระบุการจราจร โดยใช้ฟิลด์ Flow Label ใน IPv6 Header อนุญาตให้ Router ทำการระบุและดูแลแพ็ตเก็ตที่ไหล การไหลที่เป็นชุดของแพ็ตเก็ตระหว่างต้นทาง ไปยัง ปลายทาง โดยรองรับ QoS ทำให้ง่ายต่อการติดต่อให้บรรลุเป้าหมายเมื่อมี Packet Payload ถูกเข้ารหัสด้วย IPSec7. มีการติดตั้งกับเครื่องข้างเคียง Neighbor Discovery Protocol สำหรับ IPv6 เป็นชุด Internet Control Message Protocol สำหรับ IPv6 (ICMPv6) ซึ่งจัดการโหนดเพื่อนบ้าน

* IPv6 ใช้ 128 bits ในการระบุหมายเลข IP ในขณะที่ IPv4 มีพื้นที่ให้ระบุเพียง 32 Bits ทำให้ IPv6 สามารถรองรับจำนวนหมายเลข IP ได้มากกว่า

* IPv6 มีการกำหนดขนาดของส่วน Header เอาไว้ตายตัว ทำให้ความเร็วในการประมวลผลและการส่องต่อมีประสิทธิภาพขึ้น

* IPv6 มีการออกแบบ Header มาเพื่อช่วยให้การค้นหาเส้นทางมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น

* IPv6 ตัดส่วนที่ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลออกไป เพราะหน้าที่สามารถให้ layer ข้างบนทำได้ เป็นการลดภาระงานของ Router ด้วย

* IPv6 สามารถรองรับต่อขนาดของข้อความ (payload) ได้ถึง 4 GiB. ซึ่ง IPv4 รองรับได้แค่ 64 KiB

* ส่วน OS ที่รองรับ ก็มี Linux , Windows XP/ Vista, Mac OS X

ที่มา : 1. http://www.thaicert.nectec.or.th/paper/basic/tcp-ip.php
2. http://74.125.153.132/search?q=cache:aS_ouR6ZgfQJ:ccsmail.sut.ac.th/e-ru/teacher/file/file172.doc+ip+header+%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87+IPV4&cd=1&hl=th&ct=clnk&gl=th&lr=lang_th
3. http://eng.sut.ac.th/tce/Photos/couseonline/Gr14.pdf
4. http://kitty.in.th/index.php?room=article&id=83
5. http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=11256713b4c94964
6. http://kom.homelinux.org/node/288
7. http://www.specialist.co.th/se/web/news_detail.php?id=70

topology

topology

1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกว่า BUS หรือ แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผู้ส่งจะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปของแพ็กเกจ ซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ส่ง, ผู้รับ และข้อมูลที่จะส่ง การสื่อสารภายในสายบัสจะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของ บัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของบัส จะมีเทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทำหน้าที่ลบล้างสัญญาณที่ส่งมาถึง เพื่อป้องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลนั้นสะท้อนกลับ เข้ามายังบัสอีก เพื่อเป็นการป้องกันการชนกันของข้อมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยู่บนบัสในขณะนั้น
สัญญาณ ข้อมูลจากโหนดผู้ส่งเมื่อเข้าสู่บัส ข้อมูลจะไหลผ่านไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของบัส แต่ละโหนดที่เชื่อมต่อเข้ากับบัส จะคอยตรวจดูว่า ตำแหน่งปลายทางที่มากับแพ็กเกจข้อมูลนั้นตรงกับตำแหน่งของตนหรือไม่ ถ้าตรง ก็จะรับข้อมูลนั้นเข้ามาสู่โหนด ตน แต่ถ้าไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้สัญญาณข้อมูลนั้นผ่านไป จะเห็นว่าทุก ๆ โหนดภายในเครือข่ายแบบ BUS นั้นสามารถรับรู้สัญญาณข้อมูลได้ แต่จะมีเพียงโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่จะรับข้อมูลนั้นไปได้
ข้อดี
- ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
ข้อเสีย
- อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
- การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้
2. โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย ทั้งเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ( Server) และ เครื่องที่เป็นผู้ขอใช้บริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลม ข้อมูลข่าวสารที่ส่งระหว่างกัน จะไหลวนอยู่ในเครือข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์เช่นเดียวกับเครือข่ายแบบ BUS ในแต่ละโหนดหรือแต่ละเครื่อง จะมีรีพีตเตอร์ (Repeater) ประจำแต่ละเครื่อง 1 ตัว ซึ่งจะทำหน้าที่เพิ่มเติมข้อมูลที่จำเป็นต่อการติดต่อสื่อสารเข้าในส่วนหัว ของแพ็กเกจที่ส่ง และตรวจสอบข้อมูลจากส่วนหัวของ Packet ที่ส่งมาถึง ว่าเป็นข้อมูลของตนหรือไม่ แต่ถ้าไม่ใช่ก็จะปล่อยข้อมูลนั้นไปยัง Repeater ของเครื่องถัดไป
ข้อดี
- ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เครื่องพร้อม ๆ กัน โดยกำหนดตำแหน่งปลายทางเหล่านั้นลงในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล Repeaterของแต่ละเครื่องจะทำการตรวจสอบเองว่า ข้อมูลที่ส่งมาให้นั้น เป็นตนเองหรือไม่
- การส่งผ่านข้อมูลในเครือข่ายแบบ RING จะเป็นไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสู่เครื่อง จึงไม่มีการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลที่ส่งออกไป
- คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน
ข้อเสีย
- ถ้ามีเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายเสียหาย ข้อมูลจะไม่สามารถส่งผ่านไปยังเครื่องต่อ ๆ ไปได้ และจะทำให้เครือข่ายทั้งเครือข่าย หยุดชะงักได้
- ขณะที่ข้อมูลถูกส่งผ่านแต่ละเครื่อง เวลาส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการที่ทุก ๆ Repeater จะต้องทำการตรวจสอบตำแหน่งปลายทางของข้อมูลนั้น ๆ ทุก ข้อมูลที่ส่งผ่านมาถึง
3. โทโปโลยีแบบดาว (STAR) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะต้องส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป
ข้อดี
- การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทำ ได้ง่าย หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถตรวจสอบได้ง่าย และศูนย์ กลางสามารถตัดเครื่องที่เสียหายนั้นออกจากการสื่อสาร ในเครือข่ายได้เลย โดยไม่มีผลกระทบกับระบบเครือข่าย
ข้อเสีย
- เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้เป็น เครื่องศูนย์กลาง หรือตัว HUB เอง และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลในเครื่องอื่น ๆ ทุกเครื่อง การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทำได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้ง จะต้องเกี่ยวเนื่องกับเครื่องอื่นๆ ทั้งระบบ
4.Mesh Topology คือ รูปแบบการเชื่อมต่อที่ สำหรับแต่ละ Node จะมี Dedicate Links ไปยัง Node อื่นๆ ที่เหลือ มักใช้เป็น Backbone สำหรับเชื่อมต่อกับ Network ที่เป็น Topology อื่น
ข้อ ดี ของรูปแบบ Mesh ได้แก่ แต่ละ Link รับผิดชอบเพียงอุปกรณ์ 2 ตัว จึงไม่เกิดปัญหา เกี่ยวกับการจัดสรรช่องการสื่อสาร ถ้ามี Link ใดเสียหาย ระบบยังคงสามารถทำงานได้ (Robust) ระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูลดี นอกจากนี้ยังสามารถบ่งชี้ตำแหน่งบกพร่องใน Network และแก้ไขได้ง่าย
ข้อเสีย ของรูปแบบ Mesh ได้แก่ จำนวน I/O Links ทั้งหมดมีค่ามาก nC2 = n (n – 1)/2

ข้อสอบ
-จงบอกข้อดีและข้อเสียของ Star Topology
-จงออกแบบ BUS Topology พร้อมกับบอกอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบ
-จง ออกแบบเครือข่ายห้อง lab คอมพิวเตอร์ของหลักสูตรระบบสารสนเทศให้เชื่อมต่อกันได้และสามารถใช้ Wireless LAN พร้อมทั้งบอกอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบทั้งหมดมาให้ครบ
-mesh topology คืออะไร
-hub ทำหน้าที่อะไร
แหล่งที่มา http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/topology.htm
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=7098f797c7c0afea

วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ข้อสอบ 60 ข้อ

1. ข้อใดคือ 11001010.00011101.00111001.00000010

  • ก. 202.50.5.3
  • ข.202.53.3.2
  • ค. 202.29.57.2
  • ง.202.29.52
  • เฉลย ค. 202.29.57.2 ง.202.29.52

2.ข้อใดคือ 0111110.1.00011000.10011011.01000010

  • ก. 125.20.155.66
  • ข. 125.24.155.66
  • ค. 125.50.15.66
  • ง. 120.25.55.58
  • เฉลย ข. 125.24.155.66

3.42.58.5.29 คือ IP Class อะไร

  • ก. A
  • ข. B
  • ค. C
  • ง. D

4.IP Class A รองรับได้กี่ Host

  • ก. 2^10 Host
  • ข. 2^16 Host
  • ค. 2^14 Host
  • ง. 2^8 Host
  • เฉลย ก. 2^10 Host

5. IP Private Class C รองรับได้กี่ Host

  • ก. 2^10 Host
  • ข. 2^16 Host
  • ค. 2^14 Host
  • ง. 2^8Host
  • เฉลย ง. 2^8Host

6. คลาสของ Network ข้อใดคือ class A

  • ก. N.N.N.H
  • ข. N.H.H.H
  • ค. N.H.N.H
  • ง. H.H.H.N
  • เฉลย ข. N.H.H.H

7.คลาสของ Network ข้อใดคือ Class C

  • ก. N.N.N.H
  • ข. N.H.H.H
  • ค. N.H.N.H
  • ง. H.H.H.N
  • เฉลย ก. N.N.N.H

8.Private IP Addresses Class B คือ

  • ก. 192.168.0.0 through 192.168.255.255
  • ข. 172.16.0.0 through 172.16.255.255
  • ค. 10.0.0.0 through 10.255.255.255
  • ง. 172.16.0.0 through 172.31.255.255
  • เฉลย ง. 172.16.0.0 through 172.31.255.255

9.Broadcast Address ของ Class C คือก. 255.255.255.254ข. 255.255.255.256ค. 255.255.255.255ง. 255.255.255.0เฉลย ค. 255.255.255.25510.ข้อใดคือ Private IP Addressก. 12.0.0.1ข. 172.20.14.36ค. 168.172.19.39ง. 172.33.194.30เฉลย ข. 172.20.14.3611.Subnet Mask ของ /17 คือก. 255.255.128.0ข. 255.248.0.0ค. 255.255.192.0ง. 255.255.248.0เฉลย ก. 255.255.128.012.Subnet Mask ของ /25 คือก. 255.255.128.0ข. 255.255.255.128ค. 255.255.255.0ง. 255.255.255.240เฉลย ข. 255.255.255.12813.Subnet Mask ของ /20 คือก. 255.255.240.0ข. 255.240.0.0ค. 255.255.255.0ง. 255.255.255.240เฉลย ก. 255.255.240.014.Network Mask ของ Class C คือก. 255.0.0.0ข. 255.255.0.0ค. 255.255.255.0ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ข.เฉลย ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ข.15.network Mask ของ Class C คือก. 255.0.0.0ข. 255.255.0.0ค. 255.255.255.0ง. ถูกทุกข้อ.เฉลย ค. 255.255.255.016.สัญลักษณ์ของการ Mark คือก. #ข. \ค. .ง. /เฉลย ง. /17.CIDR คือก. การจัดสรร Subnet แบบไม่แบ่งคลาสข. การจัดสรร IP แบบไม่แบ่งคลาสค. การหาเส้นทางแบบไม่แบ่งคลาสง. การจับรอดแคสสัญญาณข้อมูล แบบไม่แบ่งคลาสเฉลย18.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 3 Bit ของ Class C มี CIDR เท่ากับก. /21ข. /25ค. /27ง. /29เฉลย ค. /2719.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 5 Bit ของ Class B มี CIDR เท่ากับก. /15ข. /17ค. /19ง. /21เฉลย ง. /2120.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 8 Bit ของ Class B มี CIDR เท่ากับก. /16ข. /20ค. /24ง. /27เฉลย ค. /2421.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 5 Bit ของ Class A มี CIDR เท่ากับก. /13ข. /21ค. /30ง. ผิดทุกข้อเฉลย ก. /1322.จำนวน Host ของการ Mark 4 Bit Class C เท่ากับเท่าใดก. 2024 Hostข. 254 Hostค. 18 Hostง. 14 Hostเฉลย ง. 14 Host23.จำนวน Host ของการ Mark 5 Bit Class C เท่ากับเท่าใดก. 2 Hostข. 6 Hostค. 14 Hostง. 30 Hostเฉลย ข. 6 Host24.จำนวน Subnet ของการ Mark 4 Bit Class A เท่ากับเท่าใดก. 2 Subnetsข. 6 Subnetsค. 14 Subnetsง. 30 Subnetsเฉลย ค. 14 Subnets25. จำนวน Subnet ของการ Mark 6 Bit Class B เท่ากับเท่าใดก. 14 Subnetsข. 30 Subnetsค. 62 Subnetsง. 126 Subnetsเฉลย ค. 62 Subnets26.จำนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.224ก. 28 Hostsข. 32 Hostsค. 30 Hostsง. 62 Hostsเฉลย ค. 30 Hosts27.จำนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.192ก. 28 Hostsข. 32 Hostsค. 30 Hostsง. 62 Hostsเฉลย ง. 62 Hosts28.จำนวนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.192ก. 4094 Hostsข. 521 Hostsค. 1024 Hostsง. 128 Hostsเฉลย ก. 4094 Hosts29.ต้องการใช้ Subnet จำนวน 29 Subnet จะยืม (Mark) จาก คลาส A เท่าไดไหร่ก. 3ข. 4ค. 5ง. 6เฉลย ค. 530.จากข้อ 29 Subnet Mask ที่แสดงคือก. 255.192.0.0ข. 255.255.255.248ค. 255.255.248.0ง. 255.248.0.0เฉลย ง. 255.248.0.031.ข้อไดไม่ใช่ Sub network ID สำหรับเครื่องที่ใช้ IP Address หมายเลข 200.10.5.68/28ก. 200.10.5.56ข. 200.10.5.32ค. 200.10.5.64ง. 200.10.5.032.ข้อใดคือ Network Address ของหมายเลข172.16.0.0/19ก. 8 Subnets ; 2,046 Hostsข. 8 Subnets ; 8,198 Hostsค. 7 Subnets ; 30 Hostsง. 7 Subnets ; 62 Hosts33.ข้อใดคือ Subnet ของ IP address 172.16.210.0/22ก. 172.16.208.0ข. 172.16.254.0ค. 172.16.107.0ง. 172.16.254.19234.ข้อใดคือ Subnet ของ IP Address 201.100.5.68/28ก. 201.100.5.31ข. 201.100.5.64ค. 201.100.5.65ง. 201.100.5.135. ข้อใดคือ Subnet ของ IP Address 172.16.11.1/25ก. 172.16.112.0ข. 172.16.0.0ค. 17.16.96.0ง. 172.15.255.0กำหนด IP Address 192.168.1.1/28 จงคำนวณหา Sub network ID IP Usage และ Broadcast แลัวตอบคำถาม36.หมายเลยใด ไม่สามารถใช้ได้ก. 192.168.1.13ข. 192.158.1.226ค. 193.168.1.31ง. 192.168.1.25337.หมายาเลยใด เป็น Sub network Id ของ Subnet ที่ 00001000ก. 192.168.1.13ข. 192.168.1.226ค. 192.168.1.31ง. 192.168.1.25338.หมายเลขใด เป็น Broadcast ID ของ Subnet ที่ 000010000ก. 192.168.1.13ข. 192.168.1.16ค. 192.168.1.31ง. 192.168.1.3239.หมายเลขใด เป็น Sub network ID ของ Subnets ที่ 001100000ก. 192.168.1.63ข. 192.168.1.45ค. 192.168.1.48ง. 192.168.1.11140.หมายเลขใด เป็น Broadcast ID ของ Subnet ที่ 001100000ก. 192.168.1.63ข. 192.168.1.45ค. 192.168.1.48ง. 192.168.1.10041.หมายเลขใด เป็น IP Usage ของ Subnet ที่ 001100000ก. 192.168.1.50ข. 192.168.1.96ค. 192.168.1.81ง. 192.168.1.10กำหนด IP Address 102.168.1.1/27 จงคำนวณหา Sub network Id IP Usage และ Broadcast แล้วตอบคำถาม42. ข้อใดไม่เข้าพวกก. 192.168.1.1ข. 192.16.1.95ค. 192.168.33ง. 192.168.1.12443.ข้อใดไม่เข้าพวกก. 192.168.1.0ข. 192.168.1.06ค. 192.168.32ง. 192.168.1.15944.หมายเลขใด ไม่สามารถใช้ได้ก. 192.168.1.193ข. 192.168.1.161ค. 192.16.1.127ง. 192.168.1.6045.ข้อใดคือ IP Usage ของ Dub network 192.168.1.96ก. 192.168.1.0 -192.168.1.31ข. 192.168.1.65 - 192.168.1.04ค. 192.168.1.97 – 192.168.1.126ง. 192.168.1.95 – 192.168.1.127จงใช้ภาพด้านล่างตอบคำถามข้อ 46-50กำหนดให้ใช้ IP Private Network Class C 192.168.1.1NET_A :13 HostsNET_B :50 HostsNET_C :2 HostsNET_D :25 Hosts46.Net_D ควรใช้ / อะไรก. /26ข. /27ค. /28ง. /2947.จาก Network ข้างต้น ใช้ Sub net mask อะไรจึงจะรองรับได้ทุก Networkก. /26ข. /27ค. /28ง. /2948.Net_C มีหมายเลย Sub net mask อะไรก. 255.255.255.192ข. 255.255.255.254ค. 255.255.255.248ง. 255.266.255.25249.Net_B มีหมายเลข Subnet Mask อะไรก. 255.255.255.192ข. 255.255.255.254ค. 255.255.255.248ง. 255.255.2555.25250.หากใช้ /26 หมายเลข Sub network IP ของ Network สุดท้ายคือก. 102.168.1.128ข. 192.168.1.192ค. 192.168.1.191ง. 192.168.1.25551.จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใดก. Arq –aข. Netstatค. Nslookupง. Tracert52. จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใดก. Arp-aข. Netstatค. Nslookupง. Ipconfig/all53.จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใดก. Tracert-aข. Netstatค. Nslookupง. Ipconfig/all54.การใช้คำสั่งตรวจสอบดู computer Name คือก. Ipconfigข. Nslookupค. Nostnameง. Tracert55.การใช้คำสั่งตรวจสอบดู IP และ Subnet Mask คือก. IPconfigข. Nslookupค. Hostnameง. Tracert56.การตรวจสอบการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและปลายทางคือก. Ipconfigข. Nslookupค. Hostnameง. Tracert57.Destination Host Unreachable หมายความว่าก. ติดตั้ง IP ที่ Host ไม่ถูกต้องข. ติดตั้ง Card LAN ไม่ถูกต้องค. Host ไม่ถูกเชื่อมต่อกับเครื่องที่ PINGง. HOST ไม่ถูกเชื่อมต่อกับระบบ58.Tracert คือก. การหาเส้นทางการเชื่อมต่อจากต้นทางไปปลายทางข. การหาเส้นทางการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ค. การตรวจสอบสถานะของระบบเครือข่ายง. ตรวจสอบความผิดพลาดของ Packet59.การเข้าหน้า CMD ทำอย่างไรในครั้งแรกก. Start > run > cmdข. Start > run > connandค. Start > allprogram > accessories> command prompt60.ARP(Address Resolution Protocol) หรือหมายเลข LAN Card มีกี่ไบต์ก. 6 Bitข. 16 Bitค. 8 Bitง. 32 Bit

วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2552

Topology

โทโปโลยี
โทโปโลยีของเครือข่าย (Network Topology) จะอธิบายถึงแผนผังการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ลักษณะทางกายภาพ ( Physical Topology) หรือทางตรรกะ (Logical Topology) ซึ่งจะแสดงถึงตำแหน่งของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆ และเส้นทางการเชื่อมต่อของอุปกรณ์เหล่านี้
ประเภทของโทโปโลยี
โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)
โทโปโลยีแบบดวงดาว (Star Topology)
โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
โทโปโลยีแบบเมช (Mesh Topology)

การเชื่อมต่อแบบ BUS
โปรโตคอล Ethernet สามารถเชื่อมต่อได้ทั้งแบบ Bus โดยใช้สาย Coaxial และแบบ Star ใช้สายทองแดงคู่ดีเกลียว (สาย UTP) การเชื่อมต่อแบบ Bus จะเป็นตามมาตรฐานของ 10Base2 เป็นรูปแบบเชื่อมต่อสายโดยใช้สาย Coaxial (โคแอกเชี่ยล) มีเส้นศูนย์กลาง ? นิ้ว เรียกว่า Thin Coaxial ความยาวโดยรวมของสายทั้งหมดจากเครื่องต้นทางถึงเครื่องปลายทางต้องไม่เกิน 180 เมตร บางทีก็เรียกสาย Coaxial ว่าสาย RG-58 (มีความต้านทาน 50 โอห์ม) การเชื่อมต่อแบนี้ไม่ต้องใช้ฮับเป็นตัวกลาง ทำให้มีต้นทุนต่ำแต่ประสิทธิภาพการทำงานจะไม่ดีเท่าที่ควร วิธีการเชื่อมต่อสายระหว่างจุดต่อจะใช้ตัว T-Connector เป็นตัวกลาง และจะมีหัวต่อ BNC สำหรับต่อเข้ากับการ์ดเน็ตเวิร์ก และสิ่งสำคัญจะต้องมีตัว Terminator ปิดที่ปลายสายของทั้งสองด้านจากรูปที่ 2.13 ก. เป็นรูปการเชื่อมต่อสาย Coaxial เข้ากับการ์ดเน็ตเวิร์ก โดยมีตัว T-Connector เป็นตัวกลาง โดยมีความยาวของสายในแต่ละช่วงจะต้องไม่ต่ำกว่า 0.5 เมตร และมีตัว Terminator ปิดที่ปลายสายของทั้งสองด้านอีกด้วยปัจจุบันการเชื่อมต่อแบบ Bus ไม่เป็นที่นิยมใช้งาน เพราะมีความเร็วต่ำเพียง 10 เมกกะบิตต่อวินาทีและข้อจำกัดด้านความยาวของสาย

ข้อดี-ข้อเสีย ของBUS Topology
ข้อดี
ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
มีโครงสร้างง่ายและระบบก็มีความน่าเชื่อถือเพราะใช้สายส่งข้อมูลเพียงเส้นเดียว
ง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบ
ข้อเสีย
การตรวจหาข้อผิดพลาดของระบบทำได้ยาก ในกรณีที่สายส่งข้อมูลเกิดเสียหายจะทำให้ระบบ
ทั้งระบบไม่สามารถทำงานได้



การเชื่อมต่อแบบ Star

การเชื่อมต่อแบบ Star จะเป็นตามมาตรฐานของ 10BaseT เป็นรูปแบบการใช้สาย Twisted Pair ในการรับ-ส่งมีความเร็ว 10/100 Mbps ด้วยสัญญาณแบบ Base band จะใช้สาย UTP (Unshield Twisted Pair) ซึ่งจะมีสายเล็กๆ ภายใน 8 เส้นตีเกลียวกัน 4 คู่ ความยาวของสายแต่ละเส้นจากเครื่องถึงฮับจะต้องไม่เกิน 100 เมตร (ทางที่ดีไม่ควรเกิน 80 เมตร เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน) ปัจจุบันนิยมใช้การเชื่อมต่อแบบนี้มากที่สุด


ข้อดี-ข้อเสีย ของStar Topology
ข้อดี
- ง่ายในการให้บริการ
- อุปกรณ์ 1 ตัวต่อสายส่ง 1 เส้น ทำให้การเสียหายของอุปกรณ์ในระบบไม่มีผลกระทบต่อการทำงานในจุดอื่นๆ
- ตรวจหาข้อผิดพลาดได้ง่าย
ข้อดี-ข้อเสีย ของStar Topology
ข้อเสีย
ต้องใช้สายส่งข้อมูลจำนวนมาก
ถ้าจุดศูนย์กลางเกิดการเสียหาย จะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถจะทำงานได้

โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)


โทโปโลยีแบบวงแหวนนี้จะใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นห่วงหรือวงแหวน การเชื่อมต่อแบบนี้สัญญาณจะเดินทางเป็นวงกลมในทิศทางเดียว และจะวิ่งผ่านคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ซึ่งจะทำหน้าที่ทวนสัญญาณไปในตัวแล้วส่งผ่านไปเครื่องถัดไป ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเครื่องใดหยุดทำงานก็จะทำให้ระบบเครือข่ายล่มเช่นกัน


ข้อดี-ข้อเสีย ของRing Topology
ข้อดี
ใช้สายส่งข้อมูลน้อยจะใกล้เคียงกับแบบ Bus
ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
ง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบ
ข้อดี-ข้อเสีย ของRing Topology
ข้อเสีย
ถ้าจุดใดจุดหนึ่งเสียหายจะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถติดต่อกันได้
ยากในการตรวจสอบข้อผิดพลาด

โทโปโลยีแบบเมซ (Mesh Topology)


โทโปโลยีเมซคือ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบสมบูรณ์ กล่าวคือ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะเชื่อมต่อถึงกันหมดโดยใช้สายสัญญาณทุกการเชื่อต่อ วิธีการนี้จะเป็นการสำรองเส้นทางเดินทางข้อมูลได้เป็นอย่างดี เช่น ถ้าสายสัญญาณเส้นใดเส้นหนึ่งขาด ก็ยังมีเส้นทางอื่นที่สามารถส่งข้อมูลได้ นอกจากนี้ยังเป็นระบบที่มีความเชื่อถือได้สูง แต่ข้อเสียก็คือ เครือข่ายแบบนี้จะใช้สัญญาณมาก ดังนั้น ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบก็เพิ่มขึ้น
โทโปโลยีแบบเมซ (Mesh Topology)

ข้อดีข้อเสียของการเชื่อมต่อแบบ (Mesh Topology )

ข้อดี

ของการเชื่อมต่อแบบเมซคือ การมีเส้นทางสำรองข้อมูล จึงได้มีการประยุกต์ใช้การเชื่อมต่อแบบเมซบางส่วน หรือการเชื่อมต่อแบบเมซที่ไม่สมบูรณ์ กล่าวคือ จะเชื่อมต่อเฉพาะสิ่งที่จำเป็นหรือสำคัญเท่านั้น

ข้อเสีย

ก็คือการเชื่อมต่อหลายจุด

คำถาม


วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

แบบทดสอบเรื่อง IP address

แบบฝึกหัด
1.IP Address คืออะไร
ก.หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์
ข.หมายเลขของระบบ LAN
ค.หมายเลขของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ง.หมายเลข server
2.หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขกี่ชุด
ก. 2ชุด
ข. 3ชุด
ค. 4ชุด
ง. 5ชุด
3.IPv4 มีกี่บิต
ก. 16 บิต
ข. 32 บิต
ค. 64 บิต
ง.128 บิต
4.หมายเลข IP Address ของ class c เริ่มจากหมายเลขใด
ก. 191-223ข. 191-333
ค. 192-223
ง. 192-240
5.หมายเลข IP Address ของ class B เริ่มจากหมายเลขใด
ก.126-192
ข.126-193
ค.127-191
ง.128-191
6.หมายเลข subnet mask ของ class A คือเท่าไร
ก.255.225.0.0
ข.255.255.0.0
ค.255.0.0.0
ง.255.255.255.0
7.หมายเลข subnet mask ของ class B คือเท่าไร
ก. 255.225.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.225.0
ง. 255.255.255.0
8.หมายเลข subnet mask ของ class c คือเท่าไร
ก.255.0.0.0
ข.255.255.0.0
ค.255.255.255.0
ง.255.255.255.255
9.หมายเลข netและ host ของ class A คืออะไร
ก.H.N.N.N
ข.N.N.N.H
ค.N.H.H.H
ง.N.N.H.H
10.หมายเลข netและ host ของ class c คืออะไร
ก.N.N.N.H
ข.N.N.H.H
ค.H.N.N.N
ง.N.H.H.H
เฉลย
1.ก 2.ค 3.ข 4.ค 5.ง 6.ค 7.ข 8.ค 9. ค 10.ก